ความสำคัญของโคม
โคมไฟหรือโคมแขวนเป็นงานหัถตกรรมพื้้นบ้าน
ที่ได้รับการถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น ให้คงอยู่สืบต่อจนถึงปัจจุบันในภาคเหนือซึ่งชาวล้านนาใช้ในงานประเพณียี่เป็ง พึงสักการะบูชาพระพุทธเจ้า
คืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง (ยี่เป็งล้านนา)ถือว่าเมื่อได้กระทำเช่นนี้แล้วและประทีปจากโคมจะช่วยส่องประกายให้ดำเนินชีวิตเจริญรุ่งเรืองอยู่เย็นเป็นสุขการบูชาด้วยน้ำมันไขข้อโคนี้เป็นพิธีทางลัทธิพราหมณ์โดยแท้
ต่อมาในแผ่นดินของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวราชการที่ 9 ทรงมีพระราชดำริว่า
พระราชพิธีต่างๆ
ที่มีนั้นจะต้องให้มีส่วนเกี่ยวข้อกับทางพระพุทธศาสนาดังนั้นจึงโปรดให้มีการสวดมนต์เย็น
ฉันเช้าก่อนที่จะยกโคมพระสงฆ์ที่จะสวดมนต์ประกอบไปด้วย พระราชาคณะไทย
1 คณะครูปริวัตรไทยพระราชาคณะรามัญ 1 พระครูปริคารามัญ
4 รวมเป็น รูป ในการทำพิธี
(แต่โบราณ) ที่ตั้งโคมเป็นไม้ไผ่ติดกระดาษ ส่วนข้างในสาน10 เป็นชะลอมเปิดกระดาษเป็นรูปกระบอกต่างๆ
เทียนสำหรับจุดโคมชั้นในแต่ละคืนจะใช้เทียน 24
เล่ม พอจุดได้ประมาณ 3 ชั่วโมงในสมัยก่อนจะมีโคมในพระราชวังปักประจำ ทุกตำหนักเจ้านาย เช่น ถ้าเป็นตำหนักเจ้าฟ้าก็จะใช้โคมโครงไม้ไผ่หุ้มผ้าขาว
เช่นเดียวกับโคมประเทียบถ้าเป็นตำหนักพระองค์เจ้าหรือข้างในก็ใช้โคมโครงไม้ไผ่ปิดกระดาษคล้ายกับโคมบริวารที่มีอยู่ทุกตำหนัก ซึ่งโคมทั้งหมดจะใช้จุดตะเกียง ด้วยถ้วยแก้ว หรือชามเหมือนกับโคมบริวารเจ้านาย ซึ่งอยู่นอกพระบรมมหาราชวัง
แต่สำหรับโคมชัย โคมประเทียบ และโคมบริวารจะมีในพระราชวังเท่านั้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น